http://www.kumanthongsiam.com
    สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com 
 หน้าแรก  ประวัติ  เรื่องเล่า  กุมารทอง  อื่นๆ  รวมรูปภาพ  เว็บบอร์ด
ค้นหา  ประเภทการค้นหา   Cart รายการสั่งซื้อ (0) 
สถิติ
เปิดเว็บไซต์ 24/05/2008
ปรับปรุง 10/07/2021
สถิติผู้เข้าชม23,988,206
Page Views33,425,481
Menu
หน้าแรก
รวมรูปภาพ
เว็บบอร์ด
« May 2024»
SMTWTFS
   1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031 

 


เรื่องราวของกุมารทองรุ่นพิพิธภัณฑ์

(อ่าน 8566/ ตอบ 109)

sanoru

ผมค้นข้อมูลพิพิธภัณธ์เก่าๆอ่านอยู่ ซึ่งเขียนโดยพี่พงศ์ เลยหยิบยกมาให้ทุกท่านอ่านด้วยเพราะเห็นว่าเป็นประโยชน์ครับ

เนื้อหาทั้งหมด Coppy มาโดยตรง ไม่ได้ดัดแปลงคำพูดพี่พงศ์แต่อย่างใดครับ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กุมารพิพิธภัณฑ์พิมพ์ใหญ่ กำหนดสร้าง500 มีการสร้างครั้งแรกปลายปี พ.ศ 2546 จำนวน 81 องค์ โดยใฃ้มวลสารเก่าที่ใช้อุดก้นกุมารโดยใช้บล็อคปุนปลาสเตอร์ที่สั้งทำจำนวน2บล็อคและก็เกิดการเสียหาย จึงทำบล็อคขึ้นใหม่เป็นบล็อคปูนฃิเมนต์จำนวน 1 บล็อค โดยกระผมเป็นคนทำเอง


มวลสารก็หมดจึงหยุดพัก ระหว่างที่หยุดพักกระผมได้นำมวลสารที่เจาะใต้ฐานของกุมาร 81 องค์แรกมาสร้างโดยบล็อคปูนฃิเมนต์ ได้จำนวน 25 องค์ จนเข้าปีพ.ศ 2547 จึงทำการหามวลสารใหม่และมีการสั้งทำบล็อค3ใหม่จำนวน 10 บล็อค (พิมพ์แบบเดียวกัน)แต่ได้ใช้บล็อคฃิเมนต์กดด้วยจนครบตามกำหนด และมีการใช้บล็อค1.2.3กดกุมารย.ยจำนวน 51 องค์


กุมารพิมพ์เล็ก ได้ใช้มวลสารจากเจาะฐานกุมารพิมพ์ใหญ่ทั้งหมดมาสร้างเป็นพิมพ์เล็กโดยกระผม พระเน เด็กวัดชื่อหมาเป็นผ้สร้าง ได้จำนวน 515 องค์ (เนื้อดินเผาแบบพิมพ์ใหญ่) และเนื้อผงฐานพระประธานโบสถ์หลังเก่าผสมกระเบื่องหลังคาโบสถ์ฃึ่งมีการเปลี่ยนใหม่ในตอนนั้นและผงกระดูก7วัดส่วนมวลสารที่เป็นดินบรรจุไว้ภายในพร้อมดะปูโลงผี เนื่องจากในกดพิมพ์ต้องใช้เทคนิคพิเศษจึงสร้างได้จำนวนน้อยมีเพียง 29 องค์ และได้นำมวลสารที่เป็นกระดูก7วัดมาสร้างกุมารเนื่อผง


พรายบรรจุมวลสารดินตามสูตรไว้ภายในเช่นเดียวกลับเนื้อผงโบสถ์ ฃึ่งเป็นต้นกำเนิดของกุมารเนื้อผงพรายพิมพ์ห้อยคอ จำนวนสร้างกุมารเนื้อผงพรายแบบบูชา 4 องค์ อย่ที่กระผม1องค์ ที่พี่ประกอบ 1องค์ ที่พระเน 1องค์ ที่วัดสามง่าม 1องค์กุมารเนื้อผงพรายของพระเน(สึกแล้ว)เปลี่ยนมือไปอย่กลับ คุณวรเดช


อาจเป็นเพราะมวลสารดีถูกต้องดามดำราของหลวงปู่เต๋ พิธีปลุกเสกดี และทำลักษณะคล้ายกลับกุมารรุ่น 1.2 ของหลวงปู่เต๋ ที่สำคัญคือเจตนาของผู้สร้างและบารมีของหลวงปู่เต๋.แย้มด้วยเช่นกัน จึงทำให้กุมารรุ่นพิพิธภัณฑ์เป็นที่นิยม


By : พงศ์

เล็ก ตุ๊กตา




หลังคับ

เล็ก ตุ๊กตา




ข้างใต้คับ

เล็ก ตุ๊กตา




รูปแค่นี้คงพอแล้วมั้ง หวังว่าท่านที่เข้ามาชมทู้นี้ของท่าน sanoru คงได้รับความรู้

และประโยชน์ในการศึกษารุ่นนี้ไปบ้างไม่มากก็น้อยนะคับ(ทั้งเนื้อหาและภาพ) ขอบคุณคับ

ไม้ขีดไฟ

เยี่ยมมากค่ะ

เล็ก ตุ๊กตา




อ้อ...ลืมไป ต้องเรียนให้ทราบซะหน่อย ภาพที่เราเอามาลงนี่เป็นของสะสมส่วนตัว ทั้งหมดทุกองค์

ล้วนได้มาจากวัดในยุคนั้นทั้งสิ้นจ๊ะ(ไม่ได้เช่าหามาในราคาที่เกินจากที่ให้ทำบุญเลยคับ)

sanoru

สุดยอดมากมาย สมแล้วที่เปงของท่านเล็กตุ๊กตา เอาเนื้อพรายมาโชว์หน่อยจิ อิอิ

สสส

ค.ห ที่ 67 บล๊อค เสริมครับ

หนี่งในตองอู

ไม่ได้เสริมนะครับอย่าเข้าใจผิดบล็อคนี้เค้าเรียกเก๊ครับ


ไม่อยากเอ่ยชื่อผมเป็นคนหนีงที่ทำให้ รุ่นนนี้เล่นแท้เป็นแท้ตั้งแต่ต้นเวปแล้วพูดไปก็เหนื่อย ในที่ลงยังมี ไม่แท้กับกี่งแท้องค์นีงไม่อยากเหลาเดี่ยวเหลาแล้วจะแหลม บอกไว้แค่นี้แล้วกันถ้าคนตาถีงเค้าดูออก แต่บอกไม่ได้ พูดไปใครจะเชื่อ

Webboardแสดงความคิดเห็น
เยี่ยม   แย่   แย่   แย่   เขิน   หยอกล้อ  ตกใจ  ร้องไห้   สงสัย   ขอโทษ   หดหู่   อย่าน่ะ   ต่อว่า   โอเค
รูปภาพ
(นามสกุลไฟล์ควรเป็น [ jpg , jpeg , gif ] และไฟล์ไม่เกิน 3 MB.)
*ชื่อ
*สถานะ  
*อีเมล
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
*รหัสยืนยัน

หมายเหตุ : : กรุณากรอกข้อมูลที่มี * ทุกช่อง

 


 หน้าแรก  ประวัติ  เรื่องเล่า  กุมารทอง  อื่นๆ  รวมรูปภาพ  เว็บบอร์ด

 เสริมดวงออนไลน์ By jack kumanthong

 www.facebook.com/jackkumanthong

 
view