sanoru
|
หัวข้อ :เรื่องราวของกุมารทองรุ่นพิพิธภัณฑ์
13/08/2009
, 01:43
Quote
ผมค้นข้อมูลพิพิธภัณธ์เก่าๆอ่านอยู่ ซึ่งเขียนโดยพี่พงศ์ เลยหยิบยกมาให้ทุกท่านอ่านด้วยเพราะเห็นว่าเป็นประโยชน์ครับ
เนื้อหาทั้งหมด Coppy มาโดยตรง ไม่ได้ดัดแปลงคำพูดพี่พงศ์แต่อย่างใดครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กุมารพิพิธภัณฑ์พิมพ์ใหญ่ กำหนดสร้าง500 มีการสร้างครั้งแรกปลายปี พ.ศ 2546 จำนวน 81 องค์ โดยใฃ้มวลสารเก่าที่ใช้อุดก้นกุมารโดยใช้บล็อคปุนปลาสเตอร์ที่สั้งทำจำนวน2บล็อคและก็เกิดการเสียหาย จึงทำบล็อคขึ้นใหม่เป็นบล็อคปูนฃิเมนต์จำนวน 1 บล็อค โดยกระผมเป็นคนทำเอง
มวลสารก็หมดจึงหยุดพัก ระหว่างที่หยุดพักกระผมได้นำมวลสารที่เจาะใต้ฐานของกุมาร 81 องค์แรกมาสร้างโดยบล็อคปูนฃิเมนต์ ได้จำนวน 25 องค์ จนเข้าปีพ.ศ 2547 จึงทำการหามวลสารใหม่และมีการสั้งทำบล็อค3ใหม่จำนวน 10 บล็อค (พิมพ์แบบเดียวกัน)แต่ได้ใช้บล็อคฃิเมนต์กดด้วยจนครบตามกำหนด และมีการใช้บล็อค1.2.3กดกุมารย.ยจำนวน 51 องค์
กุมารพิมพ์เล็ก ได้ใช้มวลสารจากเจาะฐานกุมารพิมพ์ใหญ่ทั้งหมดมาสร้างเป็นพิมพ์เล็กโดยกระผม พระเน เด็กวัดชื่อหมาเป็นผ้สร้าง ได้จำนวน 515 องค์ (เนื้อดินเผาแบบพิมพ์ใหญ่) และเนื้อผงฐานพระประธานโบสถ์หลังเก่าผสมกระเบื่องหลังคาโบสถ์ฃึ่งมีการเปลี่ยนใหม่ในตอนนั้นและผงกระดูก7วัดส่วนมวลสารที่เป็นดินบรรจุไว้ภายในพร้อมดะปูโลงผี เนื่องจากในกดพิมพ์ต้องใช้เทคนิคพิเศษจึงสร้างได้จำนวนน้อยมีเพียง 29 องค์ และได้นำมวลสารที่เป็นกระดูก7วัดมาสร้างกุมารเนื่อผง
พรายบรรจุมวลสารดินตามสูตรไว้ภายในเช่นเดียวกลับเนื้อผงโบสถ์ ฃึ่งเป็นต้นกำเนิดของกุมารเนื้อผงพรายพิมพ์ห้อยคอ จำนวนสร้างกุมารเนื้อผงพรายแบบบูชา 4 องค์ อย่ที่กระผม1องค์ ที่พี่ประกอบ 1องค์ ที่พระเน 1องค์ ที่วัดสามง่าม 1องค์กุมารเนื้อผงพรายของพระเน(สึกแล้ว)เปลี่ยนมือไปอย่กลับ คุณวรเดช
อาจเป็นเพราะมวลสารดีถูกต้องดามดำราของหลวงปู่เต๋ พิธีปลุกเสกดี และทำลักษณะคล้ายกลับกุมารรุ่น 1.2 ของหลวงปู่เต๋ ที่สำคัญคือเจตนาของผู้สร้างและบารมีของหลวงปู่เต๋.แย้มด้วยเช่นกัน จึงทำให้กุมารรุ่นพิพิธภัณฑ์เป็นที่นิยม
By : พงศ์
ผมค้นข้อมูลพิพิธภัณธ์เก่าๆอ่านอยู่ ซึ่งเขียนโดยพี่พงศ์ เลยหยิบยกมาให้ทุกท่านอ่านด้วยเพราะเห็นว่าเป็นประโยชน์ครับ
เนื้อหาทั้งหมด Coppy มาโดยตรง ไม่ได้ดัดแปลงคำพูดพี่พงศ์แต่อย่างใดครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กุมารพิพิธภัณฑ์พิมพ์ใหญ่ กำหนดสร้าง500 มีการสร้างครั้งแรกปลายปี พ.ศ 2546 จำนวน 81 องค์ โดยใฃ้มวลสารเก่าที่ใช้อุดก้นกุมารโดยใช้บล็อคปุนปลาสเตอร์ที่สั้งทำจำนวน2บล็อคและก็เกิดการเสียหาย จึงทำบล็อคขึ้นใหม่เป็นบล็อคปูนฃิเมนต์จำนวน 1 บล็อค โดยกระผมเป็นคนทำเอง
มวลสารก็หมดจึงหยุดพัก ระหว่างที่หยุดพักกระผมได้นำมวลสารที่เจาะใต้ฐานของกุมาร 81 องค์แรกมาสร้างโดยบล็อคปูนฃิเมนต์ ได้จำนวน 25 องค์ จนเข้าปีพ.ศ 2547 จึงทำการหามวลสารใหม่และมีการสั้งทำบล็อค3ใหม่จำนวน 10 บล็อค (พิมพ์แบบเดียวกัน)แต่ได้ใช้บล็อคฃิเมนต์กดด้วยจนครบตามกำหนด และมีการใช้บล็อค1.2.3กดกุมารย.ยจำนวน 51 องค์
กุมารพิมพ์เล็ก ได้ใช้มวลสารจากเจาะฐานกุมารพิมพ์ใหญ่ทั้งหมดมาสร้างเป็นพิมพ์เล็กโดยกระผม พระเน เด็กวัดชื่อหมาเป็นผ้สร้าง ได้จำนวน 515 องค์ (เนื้อดินเผาแบบพิมพ์ใหญ่) และเนื้อผงฐานพระประธานโบสถ์หลังเก่าผสมกระเบื่องหลังคาโบสถ์ฃึ่งมีการเปลี่ยนใหม่ในตอนนั้นและผงกระดูก7วัดส่วนมวลสารที่เป็นดินบรรจุไว้ภายในพร้อมดะปูโลงผี เนื่องจากในกดพิมพ์ต้องใช้เทคนิคพิเศษจึงสร้างได้จำนวนน้อยมีเพียง 29 องค์ และได้นำมวลสารที่เป็นกระดูก7วัดมาสร้างกุมารเนื่อผง
พรายบรรจุมวลสารดินตามสูตรไว้ภายในเช่นเดียวกลับเนื้อผงโบสถ์ ฃึ่งเป็นต้นกำเนิดของกุมารเนื้อผงพรายพิมพ์ห้อยคอ จำนวนสร้างกุมารเนื้อผงพรายแบบบูชา 4 องค์ อย่ที่กระผม1องค์ ที่พี่ประกอบ 1องค์ ที่พระเน 1องค์ ที่วัดสามง่าม 1องค์กุมารเนื้อผงพรายของพระเน(สึกแล้ว)เปลี่ยนมือไปอย่กลับ คุณวรเดช
อาจเป็นเพราะมวลสารดีถูกต้องดามดำราของหลวงปู่เต๋ พิธีปลุกเสกดี และทำลักษณะคล้ายกลับกุมารรุ่น 1.2 ของหลวงปู่เต๋ ที่สำคัญคือเจตนาของผู้สร้างและบารมีของหลวงปู่เต๋.แย้มด้วยเช่นกัน จึงทำให้กุมารรุ่นพิพิธภัณฑ์เป็นที่นิยม
By : พงศ์
|
เล็ก ตุ๊กตา
|
ความคิดเห็นที่ 41
13/08/2009
, 02:46
Quote
อึ๋ย..โพสแล้วรูปไม่ขึ้น งั้นไว้ก่อนแล้วกันนะคับท่าน{icon11}
อึ๋ย..โพสแล้วรูปไม่ขึ้น งั้นไว้ก่อนแล้วกันนะคับท่าน
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 42
13/08/2009
, 02:47
Quote
คนเห็นแล้วต้องถามความแตกต่างแน่นนอนครับ เพราะขนาดจะไม่เท่ากัน คือการทำเนื้อผงโบถส์มีความแข็งของเนื้อเวลากดพิมพ์ทำให้กดไม่สนิดและต้องทำอย่างเร็ว เพราะส่วนผสมจะแข็งตัวไว ประกอบกับการหดตัวมีเพียงเล็กน้อย
ผิดกับเนื้อดินจะมีการหดตัวมากทำให้ขนาดจะแตกต่างกันมาก กุมารเนื้อผงโบถส์จะมีความแข็งมาก(ตกไม่แตก)เป็นรู่นที่ผมเรียกว่า ไม่กลัวแมวครับ ส่วนเนื้อผงพราย ขนาดจะไม่เท่ากันทั้ง4องค์ครับ เพราะบางองค์ส่วนผสมเปียกมากทำให้กดได้สนิด ต้องทำวันละองค์เท่านั้น แล้วต้องปล่อยให้แห้งคาพิมพ์เนื้อนี้ตอนทำยากมากครับ ดูหน้าตาทั้ง3องค์ ว่ามีความคล้ายกันไหมครับ จะมีก็เป็นเรื่องแปลกกุมารเนื้อผงพรายหน้าตาจะไม่เหมือนกันทั้ง4องค์ แต่พิจารณาให้ดีจะมีเค้าโครงเดียวกัน เพราะมาจากบล็อคเดียวกันครับ
by: พงศ์
คนเห็นแล้วต้องถามความแตกต่างแน่นนอนครับ เพราะขนาดจะไม่เท่ากัน คือการทำเนื้อผงโบถส์มีความแข็งของเนื้อเวลากดพิมพ์ทำให้กดไม่สนิดและต้องทำอย่างเร็ว เพราะส่วนผสมจะแข็งตัวไว ประกอบกับการหดตัวมีเพียงเล็กน้อย
ผิดกับเนื้อดินจะมีการหดตัวมากทำให้ขนาดจะแตกต่างกันมาก กุมารเนื้อผงโบถส์จะมีความแข็งมาก(ตกไม่แตก)เป็นรู่นที่ผมเรียกว่า ไม่กลัวแมวครับ ส่วนเนื้อผงพราย ขนาดจะไม่เท่ากันทั้ง4องค์ครับ เพราะบางองค์ส่วนผสมเปียกมากทำให้กดได้สนิด ต้องทำวันละองค์เท่านั้น แล้วต้องปล่อยให้แห้งคาพิมพ์เนื้อนี้ตอนทำยากมากครับ ดูหน้าตาทั้ง3องค์ ว่ามีความคล้ายกันไหมครับ จะมีก็เป็นเรื่องแปลกกุมารเนื้อผงพรายหน้าตาจะไม่เหมือนกันทั้ง4องค์ แต่พิจารณาให้ดีจะมีเค้าโครงเดียวกัน เพราะมาจากบล็อคเดียวกันครับ
by: พงศ์
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 43
13/08/2009
, 02:50
Quote
ต่อไปพิมพ์ใหญ่ ย เดียว คัรบ
ต่อไปพิมพ์ใหญ่ ย เดียว คัรบ
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 44
13/08/2009
, 02:50
Quote
รูปของคุณ "กุมาร"
รูปของคุณ "กุมาร"
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 45
13/08/2009
, 02:53
Quote
รูปของคุณ "กุมาร"
รูปของคุณ "กุมาร"
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 46
13/08/2009
, 02:58
Quote
ข้อมูลจากคุณ โจ้บางจาก
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รุ่นพิพิภัณฑ์ (พิมพ์ใหญ่) นี้ลักษณะของใต้ฐานจะมีดังนี้
1.ใต้ฐานตัน(ไม่มีการเจาะ) คือเป็นรุ่นแรกๆเลยครับ แต่พิมพ์นี้มีปัญหาในการสร้าง เนื่องจากว่าสร้างมีจํานวนพอสมควรพอนําไปเผาดินแล้วเกิดการระเบิดของตัวองค์กุมารทองครับ (อาจจะเกิดจากการอัดของความชื้นที่มีอยู่ในดิน) แต่มีองค์สมบูรณ์องค์มาเพียงไม่กี่องค์เองครับ แต่จะอยู่ที่ระดับเซียนเกือบทั้งหมด(ผมคนหนึ่งที่กําลังหาอยู่ขณะนี้ น่าสนใจมาก)
2.ใต้ฐานเจาะเป็นวงกลม
3.ใต้ฐานเจาะเป็นรูปปิรมิด (อย่างที่เห็นได้เกือบทั่วๆไปทั้งแท้และเก๋)
ส่วนรุ่น พิพธภัณฑ์ (พิมพ์เล็ก) จะมีลักษณะพิมพ์ที่ออกมามีอยู่ 3 แบบคือ
1.พิมพ์ อุตร้าแมน (ที่เราสามารถเห็นได้ส่วนใหญ่)
2.พิมพ์ไอ้ค่อม (ชื่อนี้เป็นชื่อที่ทางผู้ร่วมสร้างเรียกกันครับ)
3.พิมพ์.....(ขออภัยครับจําไม่ได้จริงๆถ้าใครรู้ช่วยลงด้วยครับ)
ลักษณะการสังเกตุแบบง่ายๆพื้นๆก่อนก็คือ ให้สังเกตุที่ตัว "ย"
1.ตัว "ย" ไม่มีหัว (ต้องคมชัด)
2.ตัว "ย" มีหัว (ต้องคมชัด)
ข้อมูลจากคุณ โจ้บางจาก
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รุ่นพิพิภัณฑ์ (พิมพ์ใหญ่) นี้ลักษณะของใต้ฐานจะมีดังนี้
1.ใต้ฐานตัน(ไม่มีการเจาะ) คือเป็นรุ่นแรกๆเลยครับ แต่พิมพ์นี้มีปัญหาในการสร้าง เนื่องจากว่าสร้างมีจํานวนพอสมควรพอนําไปเผาดินแล้วเกิดการระเบิดของตัวองค์กุมารทองครับ (อาจจะเกิดจากการอัดของความชื้นที่มีอยู่ในดิน) แต่มีองค์สมบูรณ์องค์มาเพียงไม่กี่องค์เองครับ แต่จะอยู่ที่ระดับเซียนเกือบทั้งหมด(ผมคนหนึ่งที่กําลังหาอยู่ขณะนี้ น่าสนใจมาก)
2.ใต้ฐานเจาะเป็นวงกลม
3.ใต้ฐานเจาะเป็นรูปปิรมิด (อย่างที่เห็นได้เกือบทั่วๆไปทั้งแท้และเก๋)
ส่วนรุ่น พิพธภัณฑ์ (พิมพ์เล็ก) จะมีลักษณะพิมพ์ที่ออกมามีอยู่ 3 แบบคือ
1.พิมพ์ อุตร้าแมน (ที่เราสามารถเห็นได้ส่วนใหญ่)
2.พิมพ์ไอ้ค่อม (ชื่อนี้เป็นชื่อที่ทางผู้ร่วมสร้างเรียกกันครับ)
3.พิมพ์.....(ขออภัยครับจําไม่ได้จริงๆถ้าใครรู้ช่วยลงด้วยครับ)
ลักษณะการสังเกตุแบบง่ายๆพื้นๆก่อนก็คือ ให้สังเกตุที่ตัว "ย"
1.ตัว "ย" ไม่มีหัว (ต้องคมชัด)
2.ตัว "ย" มีหัว (ต้องคมชัด)
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 47
12/08/2009
, 20:00
Quote
แก้ไข จากข้อมูลของคุณโจ้บางจากนิดหน่อย ครับ พิพิธ พิมพ์เล็ก มีพิมพ์เดียว แต่ที่หลังค่อม เนื่องจากดินคนละเนื้อทำให้เกิดการหดตัวของพิมพ์ครับ ที่หลังค่อมจะเป็นเนื้อดินครับ
แก้ไข จากข้อมูลของคุณโจ้บางจากนิดหน่อย ครับ พิพิธ พิมพ์เล็ก มีพิมพ์เดียว แต่ที่หลังค่อม เนื่องจากดินคนละเนื้อทำให้เกิดการหดตัวของพิมพ์ครับ ที่หลังค่อมจะเป็นเนื้อดินครับ
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 48
12/08/2009
, 20:05
Quote
ข้อมูลจากคุณโจ้บางจาก
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รุ่นพิพิภัณฑ์ (พิมพ์ใหญ่) นี้ลักษณะของใต้ฐานจะมีดังนี้
1.ใต้ฐานตัน(ไม่มีการเจาะ) คือเป็นรุ่นแรกๆเลยครับ แต่พิมพ์นี้มีปัญหาในการสร้าง เนื่องจากว่าสร้างมีจํานวนพอสมควรพอนําไปเผาดินแล้วเกิดการระเบิดของตัวองค์กุมารทองครับ (อาจจะเกิดจากการอัดของความชื้นที่มีอยู่ในดิน) แต่มีองค์สมบูรณ์องค์มาเพียงไม่กี่องค์เองครับ แต่จะอยู่ที่ระดับเซียนเกือบทั้งหมด(ผมคนหนึ่งที่กําลังหาอยู่ขณะนี้ น่าสนใจมาก)
2.ใต้ฐานเจาะเป็นวงกลม
3.ใต้ฐานเจาะเป็นรูปปิรมิด (อย่างที่เห็นได้เกือบทั่วๆไปทั้งแท้และเก๋)
ส่วนรุ่น พิพธภัณฑ์ (พิมพ์เล็ก) จะมีลักษณะพิมพ์ที่ออกมามีอยู่ แบบเดียว
ลักษณะการสังเกตุแบบง่ายๆพื้นๆก่อนก็คือ ให้สังเกตุที่ตัว "ย"
1.ตัว "ย" ไม่มีหัว (ต้องคมชัด)
2.ตัว "ย" มีหัว (ต้องคมชัด)
ข้อมูลจากคุณโจ้บางจาก
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รุ่นพิพิภัณฑ์ (พิมพ์ใหญ่) นี้ลักษณะของใต้ฐานจะมีดังนี้
1.ใต้ฐานตัน(ไม่มีการเจาะ) คือเป็นรุ่นแรกๆเลยครับ แต่พิมพ์นี้มีปัญหาในการสร้าง เนื่องจากว่าสร้างมีจํานวนพอสมควรพอนําไปเผาดินแล้วเกิดการระเบิดของตัวองค์กุมารทองครับ (อาจจะเกิดจากการอัดของความชื้นที่มีอยู่ในดิน) แต่มีองค์สมบูรณ์องค์มาเพียงไม่กี่องค์เองครับ แต่จะอยู่ที่ระดับเซียนเกือบทั้งหมด(ผมคนหนึ่งที่กําลังหาอยู่ขณะนี้ น่าสนใจมาก)
2.ใต้ฐานเจาะเป็นวงกลม
3.ใต้ฐานเจาะเป็นรูปปิรมิด (อย่างที่เห็นได้เกือบทั่วๆไปทั้งแท้และเก๋)
ส่วนรุ่น พิพธภัณฑ์ (พิมพ์เล็ก) จะมีลักษณะพิมพ์ที่ออกมามีอยู่ แบบเดียว
ลักษณะการสังเกตุแบบง่ายๆพื้นๆก่อนก็คือ ให้สังเกตุที่ตัว "ย"
1.ตัว "ย" ไม่มีหัว (ต้องคมชัด)
2.ตัว "ย" มีหัว (ต้องคมชัด)
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 49
13/08/2009
, 03:09
Quote
เอามาให้ดูหลายๆองค์ครับ พิมพ์ใหญ่
เอามาให้ดูหลายๆองค์ครับ พิมพ์ใหญ่
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 50
13/08/2009
, 03:09
Quote
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 51
13/08/2009
, 03:10
Quote
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 52
13/08/2009
, 03:16
Quote
สององค์ต่อไปของคุณซี season777 ครับ
สององค์ต่อไปของคุณซี season777 ครับ
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 53
13/08/2009
, 03:17
Quote
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 54
13/08/2009
, 03:20
Quote
คำพูดคุณ season777
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
องค์นี้ .. เป็นรุ่นพิพิธภัณฑ์เช่นกัน แต่หน้าตาไม่เหมือนองค์อื่นๆ .. ด้วยเหตุผลอยู่ที่การลงสีลงหน้าตามของผู้สร้างมากกว่าครับ ดังนั้นพี่ๆน้องๆท่านใดที่มีกุมารทองรุ่นนี้อยู่.. ช่วยนำมาลงกันมากๆครับ เพราะถ้าดูหลายๆองค์ ผ่านตากันเยอะๆ จะจับจุดในการดูได้ว่าองค์ไหนแท้หรือเก๊อย่างไรครับ.....
......................................................................................
ประวัติสำหรับองค์นี้ค่อนข้างเฮี้ยนนิดครับ เพราะไปทำให้เจ้าของเก่านั้นต้องรีบมาคืนทันที ...
เนื่องด้วยเจ้าของเก่านั้น เมื่อได้กุมารทองนี้ไป ด้วยความที่อยากให้ดูพิเศษสำหรับตัวเค้า ที่ได้ไปขอดินกุมารทองจากที่วัดสามง่าม เพื่อไปอุดใต้ฐานให้เต็ม และ ฝังปลาตะเพียนทอง-เงิน ของหลวงพ่อเต๋ท่านติดลงไปที่ใต้ฐาน
ผลปรากฎว่า..............
เจ้าของเก่าได้นำมาคืนที่วัดหลังจากนั้นไม่กี่อาทิตย์ ด้วยอาการที่เหมือนคนไม่หลับไม่นอน ตาลอย ดูไม่ค่อยมีสติ .. ซึ่งจากการสอบถามคร่าวๆ ได้ทราบว่า เจ้าของเก่านั้นถ่ายไม่ได้มาเป็นอาทิตย์ ซึ่งเป็นอาการที่หาสาเหตุไม่ได้ .. และเจ้าของเก่าก็เลยนึกได้ว่าไปทำกับกุมารทองแบบนี้ ก็เลยกังวลกลัว สุดท้ายก็นำมาคืนวัดครับ ...
หลังจากนั้นผมก็ขอเช่าต่อจากหลวงปู่ .. ซึ่งก็ได้แกะปลาตะเพียนทอง-เงินออกจากตัวองค์ออกมา (สังเกตยังเป็นรอยอยู่เลยครับ) แต่ดินที่อุดไปนั้นค่อนข้างแน่นมาก ผมก็เลยไม่กล้าแคะแกะออกมา เพราะกลัวว่าจะไปทำให้กุมารเสียหายได้ แล้วก็ได้สอบถามหลวงปู่ท่านจนแน่ใจว่าไม่เป็นไรแล้วจึงให้หลวงปู่ท่านเจิมเพื่อความเป็นสิริมงคลครับ
ตั้งแต่นำมาบูชา..ถือว่าดีมากครับ ไม่มีเรื่องไม่ดีใดๆมาเลย
คำพูดคุณ season777
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
องค์นี้ .. เป็นรุ่นพิพิธภัณฑ์เช่นกัน แต่หน้าตาไม่เหมือนองค์อื่นๆ .. ด้วยเหตุผลอยู่ที่การลงสีลงหน้าตามของผู้สร้างมากกว่าครับ ดังนั้นพี่ๆน้องๆท่านใดที่มีกุมารทองรุ่นนี้อยู่.. ช่วยนำมาลงกันมากๆครับ เพราะถ้าดูหลายๆองค์ ผ่านตากันเยอะๆ จะจับจุดในการดูได้ว่าองค์ไหนแท้หรือเก๊อย่างไรครับ.....
......................................................................................
ประวัติสำหรับองค์นี้ค่อนข้างเฮี้ยนนิดครับ เพราะไปทำให้เจ้าของเก่านั้นต้องรีบมาคืนทันที ...
เนื่องด้วยเจ้าของเก่านั้น เมื่อได้กุมารทองนี้ไป ด้วยความที่อยากให้ดูพิเศษสำหรับตัวเค้า ที่ได้ไปขอดินกุมารทองจากที่วัดสามง่าม เพื่อไปอุดใต้ฐานให้เต็ม และ ฝังปลาตะเพียนทอง-เงิน ของหลวงพ่อเต๋ท่านติดลงไปที่ใต้ฐาน
ผลปรากฎว่า..............
เจ้าของเก่าได้นำมาคืนที่วัดหลังจากนั้นไม่กี่อาทิตย์ ด้วยอาการที่เหมือนคนไม่หลับไม่นอน ตาลอย ดูไม่ค่อยมีสติ .. ซึ่งจากการสอบถามคร่าวๆ ได้ทราบว่า เจ้าของเก่านั้นถ่ายไม่ได้มาเป็นอาทิตย์ ซึ่งเป็นอาการที่หาสาเหตุไม่ได้ .. และเจ้าของเก่าก็เลยนึกได้ว่าไปทำกับกุมารทองแบบนี้ ก็เลยกังวลกลัว สุดท้ายก็นำมาคืนวัดครับ ...
หลังจากนั้นผมก็ขอเช่าต่อจากหลวงปู่ .. ซึ่งก็ได้แกะปลาตะเพียนทอง-เงินออกจากตัวองค์ออกมา (สังเกตยังเป็นรอยอยู่เลยครับ) แต่ดินที่อุดไปนั้นค่อนข้างแน่นมาก ผมก็เลยไม่กล้าแคะแกะออกมา เพราะกลัวว่าจะไปทำให้กุมารเสียหายได้ แล้วก็ได้สอบถามหลวงปู่ท่านจนแน่ใจว่าไม่เป็นไรแล้วจึงให้หลวงปู่ท่านเจิมเพื่อความเป็นสิริมงคลครับ
ตั้งแต่นำมาบูชา..ถือว่าดีมากครับ ไม่มีเรื่องไม่ดีใดๆมาเลย
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 55
12/08/2009
, 20:21
Quote
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 56
13/08/2009
, 03:21
Quote
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 57
13/08/2009
, 03:26
Quote
ข้อมูลจาก คุณ season777
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กุมารทองพิพิธภัณฑ์ หรือ ที่ส่วนใหญ่เราเรียกว่า "รุ่น ย".. เป็นกุมารทองเนื่อดินกุมารรุ่นแรกของหลวงปู่ท่านที่ทำออกมาเป็นเนื้อดินกุมารทั้งองค์.. เนื่องจากกุมารทองส่วนใหญ่ของท่านที่ออกมาก่อนหน้านั้น จะเป็นโลหะ อุดดินกุมาร หรือไม่ก็เป็นเนื้อปูน อุดดินกุมาร มากกว่า..
รุ่น พิพิธภัณฑ์ (ผมขอเรียกว่า "รุ่น ย").. มีทำออกมา 3 แบบหลักคือ องค์ขนาด 5"นิ้ว มีทั้ง "ย" และ "ยย" และก็มีองค์ขนาด 3"(นิ้ว) ซึ่งมีความพิเศษ คือใช้ดินกองสลากเป็นส่วนผสม ก็เลยถูกเรียกว่า "รุ่นกองสลาก" ไปด้วยครับ)
จำนวนการสร้างนั้นไม่เกิน 600-700 องค์ ... เป็นการจัดสร้างที่ค่อนข้างแน่นอน เนื่องจากแกะพิมพ์ออกมาจากหมดก่อน แล้วค่อยๆทยอยผมจนหมด ..
การเผากุมารนั้นช่วงแรกๆ สีดินองค์กุมารและเสียงเนื่อดินเวลาเคาะจะทุ้มๆไม่ใสเท่าไร .. จำนวนหลังๆที่เผาจึงผสมแกลบลงไปด้วย จึงทำให้มีเสียงเวลาดีดนิ้วเคาะที่ตัวองค์ ออกมาค่อนข้างใสมาก.. (ใครมีลองเคาะกันดูครับ)
การจารนั้นเป็นของหลวงปู่แย้มทั้งหมดครับ ไม่มีใครช่วยจารเหมือนรุ่นปัจจุบันที่ท่านอายุมากขึ้น และมีผู้คนไปหาท่านมากขึ้นเช่นกัน จนท่านจารองค์เดียวไม่ไหว จึงจำเป็นต้องมีผู้ช่วยท่านบ้าง ซึ่งผมเห็นด้วยครับ เพราะไม่อยากให้ท่านเหนื่อยมาก...
หน้าตาของกุมารนั้น.. อาจจะดูไม่เหมือนกันเท่าไรนัก เพราะอยู่ที่การลงสีและการเขียนหน้าตา แต่หากดูในหลักเกณฑ์คร่าวๆที่ผมจะแนะนำต่อไป จะมีหลักง่ายๆ เพื่อแยกแยะคร่าวๆให้พอทราบได้ครับ
สำหรับขอเก๊นั้นมีทำออกมามากแล้วในปัจจุบัน ซึ่งส่วนใหญ่จะดูเก๊ค่อนข้างง่ายเนื่องจาก
- สี ที่ดูใหม่มากจนผิดสังเกต
- รอยจารของหลวงปู่ที่ไม่มีทางจะปลอมได้เลย
- ความเก่าและสีเนื่อดินที่เผาออกมา
- รูปทรงของกุมารที่ดูเบี้ยวผิดเพี้ยนไป ไม่เข้ารูปทรง
สิ่งที่ผมอยากเตือนคือ มีบางพวกที่นำของปลอมไปลงสีใหม่ แล้วนำมาให้หลวงปู่ท่านจาร เพื่อบอกคนอื่นๆว่านี่เป็นของท่าน .. ดังนั้นเรื่องสีนี่สามารถเป็นจุดแรกๆที่จะพิจารณาได้ในตอนนี้เท่านี้... หากอีกซัก 5 ปีข้างหน้า อาจจะดูยากหน่อย เพราะสีที่ทาใหม่กันตอนนี้ก็จะเริ่มเก่าตาม
ข้อมูลจาก คุณ season777
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กุมารทองพิพิธภัณฑ์ หรือ ที่ส่วนใหญ่เราเรียกว่า "รุ่น ย".. เป็นกุมารทองเนื่อดินกุมารรุ่นแรกของหลวงปู่ท่านที่ทำออกมาเป็นเนื้อดินกุมารทั้งองค์.. เนื่องจากกุมารทองส่วนใหญ่ของท่านที่ออกมาก่อนหน้านั้น จะเป็นโลหะ อุดดินกุมาร หรือไม่ก็เป็นเนื้อปูน อุดดินกุมาร มากกว่า..
รุ่น พิพิธภัณฑ์ (ผมขอเรียกว่า "รุ่น ย").. มีทำออกมา 3 แบบหลักคือ องค์ขนาด 5"นิ้ว มีทั้ง "ย" และ "ยย" และก็มีองค์ขนาด 3"(นิ้ว) ซึ่งมีความพิเศษ คือใช้ดินกองสลากเป็นส่วนผสม ก็เลยถูกเรียกว่า "รุ่นกองสลาก" ไปด้วยครับ)
จำนวนการสร้างนั้นไม่เกิน 600-700 องค์ ... เป็นการจัดสร้างที่ค่อนข้างแน่นอน เนื่องจากแกะพิมพ์ออกมาจากหมดก่อน แล้วค่อยๆทยอยผมจนหมด ..
การเผากุมารนั้นช่วงแรกๆ สีดินองค์กุมารและเสียงเนื่อดินเวลาเคาะจะทุ้มๆไม่ใสเท่าไร .. จำนวนหลังๆที่เผาจึงผสมแกลบลงไปด้วย จึงทำให้มีเสียงเวลาดีดนิ้วเคาะที่ตัวองค์ ออกมาค่อนข้างใสมาก.. (ใครมีลองเคาะกันดูครับ)
การจารนั้นเป็นของหลวงปู่แย้มทั้งหมดครับ ไม่มีใครช่วยจารเหมือนรุ่นปัจจุบันที่ท่านอายุมากขึ้น และมีผู้คนไปหาท่านมากขึ้นเช่นกัน จนท่านจารองค์เดียวไม่ไหว จึงจำเป็นต้องมีผู้ช่วยท่านบ้าง ซึ่งผมเห็นด้วยครับ เพราะไม่อยากให้ท่านเหนื่อยมาก...
หน้าตาของกุมารนั้น.. อาจจะดูไม่เหมือนกันเท่าไรนัก เพราะอยู่ที่การลงสีและการเขียนหน้าตา แต่หากดูในหลักเกณฑ์คร่าวๆที่ผมจะแนะนำต่อไป จะมีหลักง่ายๆ เพื่อแยกแยะคร่าวๆให้พอทราบได้ครับ
สำหรับขอเก๊นั้นมีทำออกมามากแล้วในปัจจุบัน ซึ่งส่วนใหญ่จะดูเก๊ค่อนข้างง่ายเนื่องจาก
- สี ที่ดูใหม่มากจนผิดสังเกต
- รอยจารของหลวงปู่ที่ไม่มีทางจะปลอมได้เลย
- ความเก่าและสีเนื่อดินที่เผาออกมา
- รูปทรงของกุมารที่ดูเบี้ยวผิดเพี้ยนไป ไม่เข้ารูปทรง
สิ่งที่ผมอยากเตือนคือ มีบางพวกที่นำของปลอมไปลงสีใหม่ แล้วนำมาให้หลวงปู่ท่านจาร เพื่อบอกคนอื่นๆว่านี่เป็นของท่าน .. ดังนั้นเรื่องสีนี่สามารถเป็นจุดแรกๆที่จะพิจารณาได้ในตอนนี้เท่านี้... หากอีกซัก 5 ปีข้างหน้า อาจจะดูยากหน่อย เพราะสีที่ทาใหม่กันตอนนี้ก็จะเริ่มเก่าตาม
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 58
13/08/2009
, 03:30
Quote
เอาก้น เนื้อดินเผาแกลบมาให้ดูครับ
เอาก้น เนื้อดินเผาแกลบมาให้ดูครับ
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 59
13/08/2009
, 03:31
Quote
|
sanoru
|
ความคิดเห็นที่ 60
13/08/2009
, 03:32
Quote
อันนี้รูปของคุณ "คนผ่านมา" ครับ
อันนี้รูปของคุณ "คนผ่านมา" ครับ
|