http://www.kumanthongsiam.com
    สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com 
 หน้าแรก  ประวัติ  เรื่องเล่า  กุมารทอง  อื่นๆ  รวมรูปภาพ  เว็บบอร์ด
ค้นหา  ประเภทการค้นหา   Cart รายการสั่งซื้อ (0) 
สถิติ
เปิดเว็บไซต์ 24/05/2008
ปรับปรุง 10/07/2021
สถิติผู้เข้าชม24,185,467
Page Views33,627,621
Menu
หน้าแรก
รวมรูปภาพ
เว็บบอร์ด
« November 2024»
SMTWTFS
     12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930

 


เรื่องราวของกุมารทองรุ่นพิพิธภัณฑ์

(อ่าน 8675/ ตอบ 109)

sanoru

ผมค้นข้อมูลพิพิธภัณธ์เก่าๆอ่านอยู่ ซึ่งเขียนโดยพี่พงศ์ เลยหยิบยกมาให้ทุกท่านอ่านด้วยเพราะเห็นว่าเป็นประโยชน์ครับ

เนื้อหาทั้งหมด Coppy มาโดยตรง ไม่ได้ดัดแปลงคำพูดพี่พงศ์แต่อย่างใดครับ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กุมารพิพิธภัณฑ์พิมพ์ใหญ่ กำหนดสร้าง500 มีการสร้างครั้งแรกปลายปี พ.ศ 2546 จำนวน 81 องค์ โดยใฃ้มวลสารเก่าที่ใช้อุดก้นกุมารโดยใช้บล็อคปุนปลาสเตอร์ที่สั้งทำจำนวน2บล็อคและก็เกิดการเสียหาย จึงทำบล็อคขึ้นใหม่เป็นบล็อคปูนฃิเมนต์จำนวน 1 บล็อค โดยกระผมเป็นคนทำเอง


มวลสารก็หมดจึงหยุดพัก ระหว่างที่หยุดพักกระผมได้นำมวลสารที่เจาะใต้ฐานของกุมาร 81 องค์แรกมาสร้างโดยบล็อคปูนฃิเมนต์ ได้จำนวน 25 องค์ จนเข้าปีพ.ศ 2547 จึงทำการหามวลสารใหม่และมีการสั้งทำบล็อค3ใหม่จำนวน 10 บล็อค (พิมพ์แบบเดียวกัน)แต่ได้ใช้บล็อคฃิเมนต์กดด้วยจนครบตามกำหนด และมีการใช้บล็อค1.2.3กดกุมารย.ยจำนวน 51 องค์


กุมารพิมพ์เล็ก ได้ใช้มวลสารจากเจาะฐานกุมารพิมพ์ใหญ่ทั้งหมดมาสร้างเป็นพิมพ์เล็กโดยกระผม พระเน เด็กวัดชื่อหมาเป็นผ้สร้าง ได้จำนวน 515 องค์ (เนื้อดินเผาแบบพิมพ์ใหญ่) และเนื้อผงฐานพระประธานโบสถ์หลังเก่าผสมกระเบื่องหลังคาโบสถ์ฃึ่งมีการเปลี่ยนใหม่ในตอนนั้นและผงกระดูก7วัดส่วนมวลสารที่เป็นดินบรรจุไว้ภายในพร้อมดะปูโลงผี เนื่องจากในกดพิมพ์ต้องใช้เทคนิคพิเศษจึงสร้างได้จำนวนน้อยมีเพียง 29 องค์ และได้นำมวลสารที่เป็นกระดูก7วัดมาสร้างกุมารเนื่อผง


พรายบรรจุมวลสารดินตามสูตรไว้ภายในเช่นเดียวกลับเนื้อผงโบสถ์ ฃึ่งเป็นต้นกำเนิดของกุมารเนื้อผงพรายพิมพ์ห้อยคอ จำนวนสร้างกุมารเนื้อผงพรายแบบบูชา 4 องค์ อย่ที่กระผม1องค์ ที่พี่ประกอบ 1องค์ ที่พระเน 1องค์ ที่วัดสามง่าม 1องค์กุมารเนื้อผงพรายของพระเน(สึกแล้ว)เปลี่ยนมือไปอย่กลับ คุณวรเดช


อาจเป็นเพราะมวลสารดีถูกต้องดามดำราของหลวงปู่เต๋ พิธีปลุกเสกดี และทำลักษณะคล้ายกลับกุมารรุ่น 1.2 ของหลวงปู่เต๋ ที่สำคัญคือเจตนาของผู้สร้างและบารมีของหลวงปู่เต๋.แย้มด้วยเช่นกัน จึงทำให้กุมารรุ่นพิพิธภัณฑ์เป็นที่นิยม


By : พงศ์

sanoru


วัสดุที่ใช้ในการเจาะฐานมีหลายอย่าง เช่นมีด เกียงแต่งลายกนกของช่างที่มาสร้างพิพิธ

แต่ตรงนี้ไม่สำคัญ เจาะเป็นกรวยก็มี การเจาะใต้ฐานเจาะกันหลายคน

รูปแบบหลุม เอามาคำนึงถึงไม่ได้ครับในการดูว่าแท้หรือเทียมครับ

sanoru


อีกองค์ของคุณแจ๊คจิวคัรบ

sanoru

sanoru

sanoru

sanoru

sanoru

sanoru


องค์นี้ตอก โค้ด 9 ย ของคุณแจ็คจิว ตอกประมาณ 200 องค์ครับ

sanoru

sanoru

ใครมีช่วยกันเอามาลงนะครับ

แต่ขอให้ที่เอามาลงนี่เป็นของคนที่ได้มาจากวัดโดยตรง

เช่าบูชาในยุคนั้นๆนะครับ ไม่ใช่ไปเช่าต่อมาจากคนอื่นครับ


เพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด """ตีเทียมเป็นแท้""" ครับ

จะได้เอาไว้ดูกันเป็นตัวอย่าง




เล็ก ตุ๊กตา




แก้ตัวใหม่คับท่านที่เมื่อกี้ลงแทรกจนตีกัน ขออภัยด้วยน๊า

เอาเริ่มที่ฐานพระประธานกันเลยนะ(ทั้งหมดที่จะลงนี่ได้มาจากวัดในยุคนั้นทั้งหมดเลยคับ)

เล็ก ตุ๊กตา




ด้านข้างเนื้อฐานพระประธานคับ

เล็ก ตุ๊กตา




ด้านหลังคับ

เล็ก ตุ๊กตา




ใต้ฐานจ๊ะ

เล็ก ตุ๊กตา




เนื้อฐานพระประธานอีกอีงค์นะ

เล็ก ตุ๊กตา




ด้านข้างจ๊ะ

เล็ก ตุ๊กตา




หลังนะผิวเนียน..ผิวเนียน...

เล็ก ตุ๊กตา




ใต้ฐานนะ

เล็ก ตุ๊กตา




พิมพ์ใหญ่ด้านหน้า

เล็ก ตุ๊กตา




ด้านข้างนะ
Webboardแสดงความคิดเห็น
เยี่ยม   แย่   แย่   แย่   เขิน   หยอกล้อ  ตกใจ  ร้องไห้   สงสัย   ขอโทษ   หดหู่   อย่าน่ะ   ต่อว่า   โอเค
รูปภาพ
(นามสกุลไฟล์ควรเป็น [ jpg , jpeg , gif ] และไฟล์ไม่เกิน 3 MB.)
*ชื่อ
*สถานะ  
*อีเมล
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
*รหัสยืนยัน

หมายเหตุ : : กรุณากรอกข้อมูลที่มี * ทุกช่อง

 


 หน้าแรก  ประวัติ  เรื่องเล่า  กุมารทอง  อื่นๆ  รวมรูปภาพ  เว็บบอร์ด

 เสริมดวงออนไลน์ By jack kumanthong

 www.facebook.com/jackkumanthong

 
view